วันอาทิตย์ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

ประเพณีแห่นางแมว

ประเพณีแห่นางแมว อ้อนวอนขอฝน

การแห่นางแมวเป็นพิธีอ้อนวอนขอฝน ซึ่งจำจัดทำขึ้นในปีใดที่ท้องถิ่นแห่งแล้งฝน ไม่ตกต้องตามฤดูกาล สาเหตุที่ฝนไม่ตก ท่านผู้รู้กล่าวไว้ว่า น้ำฝนนั้นเป็นน้ำของเทวดา ดังมีศัพท์บาลีว่า เทโว ซึ่งแปลว่า น้ำฝน เป็นเอกลักษณ์ของความดี ความบริสุทธิ์ สิ่งแวดล้อมเป็นพิษมากๆ ควัน และละอองเขม่าน้ำมัน ห่อหุ้มโลกทำให้เป็นภัยแก่มนุษย์ ผู้ที่จะล้างอากาศได้ทำให้ละอองพิษพวกนั้นตกลงดิน ทำให้อากาศสะอาดคือ "เทโว" หรือ "ฝน" นั่นเอง ดังจะเห็นได้จากเมื่อฝนหยุดตกใหม่ๆ อากาศจะสดชื่น ระงมไปด้วยเสียงของกบ เขียด
ความเชื่อ การแห่นางแมวภาคอิสาน
พิธีแห่นางแมวของชาวอีสานเพราะเชื่อว่าเหตุที่ฝนไม่ตกมีเหตุผลหลายประการ เช่น เกิดจากดินฟ้าอากาศเปลี่ยนแปลง,ประชาชนชาวเมืองหย่อนในศีลธรรม, เจ้าเมืองหรือเจ้าแผ่นดิน ไม่ทรงอยู่ในทศพิธราชธรรม เป็นต้น ดังนั้น ถ้ามนุษย์อยากให้เทวะคือน้ำฝนที่ดีไม่ใช่ดีเปรสชั่น มาเยี่ยมตามกาลเวลา มนุษย์ก็ควรตั้งอยู่ในศีลในธรรม เพราะคนที่มีศีลมีธรรมท่านจึงเรียกว่า "เทวะ" ทั้งๆ ที่เป็นคน เพราะเหตุดังกล่าวมานี้ เทวะคือฝน กับเทวะคือคนผู้มีคุณธรรม ย่อมจะมาหากันเพราะเป็นเล่ากอแห่งเทวะด้วยกัน เหมือนพระย่อมไปพักกับพระเป็นต้น เหตุนี้ชาวเมือง ชาวอีสานจึงต้องทำพิธีอ้อนวอนขอฝน และการที่ต้องใช้แมวเป็นตัวประกอบสำคัญในการขอฝน เพราะเชื่อว่าแมวเป็นสัตว์ที่เกลียดฝน ถ้าฝนตกครั้งใดแมวจะร้องทันที ชาวอีสานจึงถือเอาเคล็ดที่แมวร้องในเวลาฝนตกว่า จะเป็นเหตุให้ฝนตกจริงๆ ชาวบ้านจึงร่วมมือกันสาดน้ำและทำให้แมวร้องมากที่สุดจึงจะเป็นผลดี และชาวอีสานเชื่อว่าหลังจากทำพิธีแห่นางแมวแล้วฝนจะตกลงมาตามคำอ้อนวอน และตามคำเซิ้งของนางแมว
นอกจากแมวจะเข้ามาเกี่ยวข้องในพิธีเกิดและพิธีแต่งงานในวัฒนธรรมไทยแล้ว แมวยังเข้ามามีส่วนร่วมในอีกประเพณีสำคัญของไทยที่สืบทอดกันมาหลายชั่วอายุคน นั่นคือ พิธีแห่นางแมวขอฝน คนไทยในสมัยก่อนเชื่อว่า แมวเป็นสัตว์ที่มีอำนาจลึกลับศักดิ์สิทธิ์ สามารถเรียกฝนให้ตกลงมาได้ และเมื่อถึงฤดูฝน หากฝนแล้งไม่ตกต้องตามฤดูกาล

ชาวไทยโดยเฉพาะกลุ่มเกษตรกรที่จำเป็นต้องใช้น้ำในการเกษตรกรรมจะต้องนำนางแมว (แมวตัวเมีย) โดยคัดเลือกแมวไทยพันธุ์สีสวาด (คนไทยโบราณเรียก แมวมาเลศ ตามภาพ) ตัวที่มีรูปร่างปราดเปรียว สวยงามตั้งแต่ 1-3 ตัว นำนางแมวมาใส่กระบุงหรือตะกร้าหรือเข่งก็ได้ สาเหตุที่ต้องเลือกแมวพันธุ์นี้เพราะเชื่อว่า สีขนแมวเป็นสีเดียวกับเมฆ จะทำให้เกิดฝนตกได้ แต่บางแห่งก็ใช้แมวดำ
ก่อนที่จะนำนางแมวเข้ากระบุง คนที่เป็นผู้อาวุโสที่สุด จะพูดกับนางแมวว่า "นางแมวเอย …ขอฟ้าขอฝน ให้ตกลงมาด้วยนะ" พอหย่อนนางแมวลงกระบุงแล้ว ก็ยกกระบุงนั้นสอดคานหามหัวท้าย จะปิดหรือเปิดฝากระบุงก็ได้ แต่ถ้าปิดต้องให้นางแมวโดนน้ำกระเซ็นใส่ ตอนที่สาดน้ำด้วยจะต้องถูกต้องตามหลักประเพณี

ผู้หญิงที่เข้าร่วมในพิธีแห่ จะผัดหน้าขาว ทัดดอกไม้สดดอกโตๆ ขบวนแห่จะร้องรำทำเพลงที่สนุกสนานเฮฮา เมื่อขบวนแห่ถึงบ้านไหน แต่ละบ้านจะต้องออกมาต้อนรับอย่างเต็มที่ เพราะเกรงว่าแมวจะโกรธ และจะบันดาลไม่ให้ฝนตกลงมา และมีความเชื่อว่า ถ้าแห่นางแมวแล้วฝนจะตก ภายใน 3 วันหรือ 7 วัน นอกจากนี้ พิธีแห่นางแมวขอฝน จะเป็นการช่วยเรียกให้ฝนตกแล้ว ยังถือว่าพิธีนี้เป็นการสร้างความสัมพันธ์กับผู้คนในหมู่บ้านให้แน่นแฟ้นขึ้น เนื่องจากจะต้องมีการช่วยเหลือกันในการประกอบพิธีอีกด้วย
องค์ประกอบที่ใช้ในพิธีแห่นางแมว
  1. กะทอหรือเข่ง หรือกระบุง ที่มีฝาปิดข้างบน 1 อัน
  2. แมวสีดำตัวเมีย 1-3 ตัว
  3. เทียน 5 คู่
  4. ดอกไม้ 5 คู่
  5. ไม่สำหรับสอดกะทอให้คนหาม 1 อัน
วิธีแห่นางแมว
  1. ชาวบ้านรวมทั้งคนแก่คนหนุ่มและเด็กส่วนมากจะเป็นผู้ชาย ปรึกษาหารือกัน คนที่เป็นผู้นำกล่าวเซิ้ง เพื่อให้ผู้ไปแห่ทั้งหมดเป็นผู้ว่าตาม ส่วนใหญ่จะเป็นคนเฒ่าคนแก่ในหมู่บ้าน
  2. หากะทอใบหนึ่งหรืออาจใช้เข่ง หรือกระบุงก็ได้
  3. จับเอาแมวตัวเมียสีดำ หรือแมวไทยพันธุ์สีสวาด (คนไทยโบราณเรียก แมวมาเลศ)  1 ตัวใส่ในกะทอ  ใช้เชือกผูกปิดปากะทอไม่ให้แมวออกได้ และใช้ไม้สอดกะทอให้คนหา 2 คน ตั้งคายด้วยขันธ์ ห้า ป่าวสักเคเทวดา เพื่อให้เทวดาบันดาลให้ฝนตก
  4. ได้เวลาพลบค่ำผู้คนกำลังอยู่บ้าน ก็เริ่มขบวนแห่โดยหากะทอแมวออกข้างหน้า แล้วตามด้วยคนว่า คำเซิ้ง และผู้แห่ว่าตามเป็นท่อนๆ ไป ในขบวนก็จะมีการตีเกราะเคาะไม้เพื่อให้เกิดจังหวะตามไปด้วย และแห่ไปทุกหลังคาเรือนในหมู่บ้านนั้นๆ เมื่อแห่ไปถึงบ้านใครเจ้าของบ้านก็ต้องเอาน้ำสาด
    หรือรดที่ตัวแมวให้เปียกและทำให้แมวร้อง และสาดใส่ขบวนเซิ้งด้วย ประเพณีบางบ้านก็สาดใส่ขบวนเฉยๆ โดยไม่ให้ถูกแมว เพราะปรากฏว่าเซิ้งหนักๆ เข้า แมวตายวันละตัว
แห่นางแมว อิสาน อีกแบบหนึ่ง
ให้เอาแมวมา 1 ตัว ใส่ในกระทอ มีคนหามตั้งคายขัน 5 หามประกอบพิธีป่าวสัคเค เทวาเชิญเทวดาลงมาบอกกล่าวขอน้ำฝนกับเทวดาว่า จะขอฝนด้วยการใช้พิธีแห่นางแมว แล้วสั่งให้พวกหามแมวแห่เซิ้งไปตามถนนในหมู่บ้าน มีคนทั้งชาย หญิง และเด็กเดินถือดอกไม้ตามไปถึงเรือนหลังไหน คนในเรือนหลังนั้นก็เอาน้ำสาดมาใส่ทั้งแมวและคน เล่นเอาทั้งแมวทั้งคนหนาวไปตามๆ กัน ในบางแห่งจะมีการผูกเอวคนหัวล้าน 2 คน ทำฮึดฮัดจะชนกันตามกระบวนไปด้วย บางจุดก็หยุดให้หัวล้านชนกัน สลับคำเซิ้งชาวก็บ้านจะเอาน้ำรดแสดงไปเรื่อยๆ
จะเซิ้งอย่างนี้เริ่มจาก 3 โมงเย็นจนถึง 2 ทุ่ม หรือรอบหมู่บ้านแล้วหยุด พอหยุดไม่นานฝนก็จะตกฟ้าแลบฟ้าร้องฟ้าผ่าตามมา
คำเซิ้ง
แต่ละท้องถิ่นไม่ค่อยเหมือนกัน แต่สิ่งที่รวมอยู่ในคำเซิ้งคือมีการพรรณนาถึงความแห้งแล้งและขอให้ฝนตกเหมือนกัน และเท่าที่ประมวลมาส่วนใหญ่จะเป็นดังนี้

 http://202.129.59.73/nana/legend/cat/cat.htm


 
http://noo-ddd.exteen.com/20100419/entry
ประวัติความเป็นมา 
นานมาแล้วก่อนประวัติศาสตร์  มนุษย์เราต่างก็ตั้งบ้านแปลงเรือน  อยู่กันเป็นกลุ่มๆ ตามเผ่าพันธุ์ของแต่ละเชื้อชาติ  แล้วแต่หัวหน้าเผ่าใดจะมีความสามารถหรือฉลาดเฉลียวที่จะรวบรวมผู้คนมาเป็สมัครพรรคพวกได้มากๆ แต่ละกลุ่มก็จะตั้งกฏระเบียบแบบแผนมาเป็นข้อบังคับให้ลูกบ้านใช้ยึดถือปฏิบัติ เพื่อให้ทุกคนอยู่ร่วมกันด้วยความสงบสุข ถ้าผู้ใดละเมิดกฎที่ตั้งไว้ ผู้นั้นจะต้องได้รับโทษตามที่แจ้งไว้ในกฎของเผ่าพันธุ์นั้นๆ เมื่ออยู่ร่วมกันเนิ่นนานจากวันเป็นเดือน จากเดือนเป็นปี จึงทำให้ออกลูกออกหลานมากขึ้นจนเป็นชุมชนใหญ่โต ผู้คนก็มากขึ้นตามปกติ จึงทำให้เกิดต่างความคิดเห็นของแต่ละคนแต่ละกลุ่ม ความขัดแย้งเรื่องราวต่างย่อมเกิดขึ้น จึงพาสมัครพรรคพวกแยกจากกลุ่มใหญ่ไปหาที่ตั้งหลักแหล่งสร้างบ้าานแปลงเรือนทำมาหากินกันตามความพอใจของตน และผู้นำก็ต้องจัดระเบียบตั้งกฏขึ้นใช้ในการปกครองผู้คนในเผ่าของตนเช่นกันตลอดมา
เมื่อประชากรมากขึ้น ย่อมมีคนฉลาดมากขึ้น รู้จักคิดรู้จักพิจารนาดูดินฟ้าอากาศ หาพิธีเอาชนะธรรมชาติเพื่อให้ตัวเองอยู่รอด และเป็นผู้ที่เคารพเชื่อถือของคนทั่วไป สิ่งที่พยายามค้นคิดเฝ้าสังเกตฝนตก ว่ามันมักจะตกวันไหนบ่อยๆ สมัยก่อนไม่มีวันอาทิตย์ถึงวันเสาร์ แต่เขาจะนับวันกันตามจันทรคติ คือยึดเอาการหมุนเวียนของการโคจรรอบโลกของดวงจันทร์เป็นหลักเกณฑ์ วันที่ชาวบ้านชาวเมืองเขาใช้นับกันก็มีสองอย่างคือ ข้างขึ้นและข้างแรม
การนับวันตามจันทรคตินี้ เขาใช้กันมาก่อนสมัยพุทธกาลแล้ว พระพุทธเจ้าจึงได้กำหนดให้พระสาวกของพระองค์บงเกศาในวันโกนซึ่งก่อนวันพระหนึ่งวัน                   
ตามธรรมชาติแรงดึงดูดของโลกและดวงจันทร์ จะทำให้อากาศแปรปรวน จึงทำให้เกิดความกดอากาศสูงบ้างต่ำบ้าง จึงทำให้ไอน้ำ ที่ชาวบ้านเขาเรียกว่าบนท้องฟ้าเกิดการรวมตัวกันมากขึ้น จึงทานน้ำหนักไม่ไหวแล้วตกลงมาเรียกว่าน้ำฝน สิ่งนี้เป็นกฎเกณฑ์ของธรรมชาติ ท่านหมอผีทั้งหลายไม่ทราบที่มาที่ไปว่าทำไมจึงเกิดเหตุดังกล่าวนั้นหรอก ได้แต่จดจำไว้ว่าเมื่อไรฝนมันจะตกลงมา แล้วเก็บข้อมูลไว้ เมื่อถึงหน้าฝนเกิดความแห้งแล้ง ฝนฟ้าไม่ตกชาวบ้านต้องการน้ำเพื่อหล่อเลี้ยงพืชผลทำมาหากินตามฤดูการ ก็พากันไปหาหมอผีมาทำพิธีขอฝนจากสิ่งที่คิดว่ามีอิทธิฤทธิ์ มีอำนาจอันศักดิ์สิทธิ์ เช่น ผี,เทวดา,เทพเจ้าฯลฯ แล้วแต่ที่เขาเล่าเรียนสืบทอดกันมา
เมื่อตกลงกันดีแล้ว หมอก็จะกำหนดวันนัดทำพิธีการขอฝน โดยการเจาะจงลงไปเลยว่าวันโกน หรือวันพระที่จะถึงนี้นะ ให้เลือกเอาวันใดวันหนึ่ง แล้วผู้นำหมู่บ้านนั้นๆ ก็จะเรียกลูกบ้านมาประชุมเพื่อบอกกล่าวกันให้รู้ทั่วทั้งหมู่บ้าน แล้วแบ่งงานมอบหมายให้ดำเนินการจัดการกันตามแต่ใครจะถนัดที่จะช่วย เช่นกลุ่มหนึ่งช่วยกันทำคานหาม (ปัจจุบันจะเห็นได้บ้างในงานแห่นาคไปอุปสมบท) ช่างที่มีฝีมือจะประดิษฐ์ตบแต่งได้สวยมาก แต่ที่ไม่มีฝีมือก็เอาเพียงแค่ใช้งานได้เท่านั้น อาจใช้ไม้ไผ่ท่อนเดียวความยาวสัก 4 ศอก ก็พอแล้ว สำหรับแขวนตะกล้าหรือชะลอมขังแมวตัวใหญ่ๆ ไว้ในนั้น ใช้คน 2 คนห้ามหัวท้าย แมวอยู่กลาง 
เมื่อถึงกำหนดวันนัด ชาวบ้านจะมีความตื่นเต้นกันมากโดยเฉพาะพวกเด็กๆนี่ใจจดใจจ่ออยากเห็นขบวนแห่ กันเต็มที กลุ่มหนุ่มสาวก็ใจเต้นระทึกอยากจะเห็นคู่รักของตนแต่งตัวชุดอะไร แต่ระบ้านที่เส้นทางขบวนแห่จะต้องผ่านมา เขาจะจัดเตรียมน้ำไว้เยอะๆ ผู้ นำขบวนการจะจัดหาสุราปลาปิ้งมาเลี้ยงกันอย่างทั่วถึง สิ่งที่ขาดไม่ได้อีกอย่างคือเถิดเทิง (กลองยาว) ปี่, ฉิ่ง, กรับ, ฉาบ, ฆ้อง และนักร้องประจำวง
ครั้นได้เวลาบ่าย แก่ๆ ชาวบ้านเรียกแดดร่มลมตก หมอผีก็จะทำพิธีกรรมของเขาตามที่ถ่ายทอดกันมา เมื่อเสร็จเรียบร้อยก็สั่งจัดขบวนตั้งแถวคณะกลองยาวนำหน้าตามดัวยนางรำทั้ง ชายและหญิงแล้วก็มีสองคนช่วยกันหามแมวที่อยู่ในชะลอม จะมีผู้นำหมู่บ้านและหมอผีเดินเคียงข้างคนหามแมวอย่างใกล้ชิดเพื่อให้ชาวบ้านเกิดความศรัทธาเชื่อถือ
แผ่นดินที่แห้งแล้งเพราะไร้ฝนตกมานาน ถูกแดดเผามาตั้งแต่เช้าจนบ่ายแก่ๆ จึงทำให้ร้อนระอุ ทางเดินเป็นฝุ่นฟุ้งขี้นประดุจหมอกควัญซึ่งเกิดจากฝ่าเท้าของฝูงชนในขบวนแห่นั้นเอง พอผ่านบ้านใดเขาก็จะเอาน้ำที่เตรียมไว้สาดลดใส่แมว น้ำที่ตกลงสู่ผืนแผ่นดินที่กำลังร้อนระอุ ทำให้เกิดปฏิกิริยาร้อนแรงขึ้นอีกทำให้ผู้คนในขบวนแห่กระโดดโลดเต้นแฝงไปด้วยความสนุกสนาน และด้วยอิทธิฤทธิ์ของ ส.ร.ถ.(สุราเถื่อน) จึงลืมความทุกข์ยากไปได้ชั่วขณะ ขบวนแห่จะดำเนินการไปจนทั่วทุกครัวเรือน ทำให้น้ำนองเจ่งไปทั่วทางเดิน เพราะชาวบ้านเอาน้ำมาราดลดแมวนั่นเอง ครั้นถึงยามค่ำคืน ความร้อนยิ่งเพิ่มเป็นทวีคูณ เพราะตามกฎของธรรมชาติ  เมื่อพระอาทิตย์ตกดินไปแล้ว ผืนแผ่นดินก็จะคลายความร้อนขึ้นมาแล้วลอยขึ้นสู่ท้องฟ้า (ช่วงนี้จะเข้าสู่ทฤษฎีการทำฝนเทียมระดับหนึ่ง) เมื่อความร้อนลอยสูงขึ้นๆ ไปกระทบกลุ่มเมฆที่มีละอองน้ำเข้า ละอองน้ำก็จะลอยหนีความร้อนขึ้นสู่เบื้องบน จึง ไปกระทบความเย็นเข้าและเกาะจับรวมตัวกันมากขึ้นจึงทานน้ำหนักไม่ไหวทำให้ ต้องลอยต่ำลงมาแล้วกลายเป็นหยดน้ำที่เราเรียกว่าฝนตกนั่นแหละครับ

 
ประเพณีแห่นางแมว ความเชื่อเกี่ยวกับพิธีขอฝนของชาวอีสาน  
หลายๆคนคงจะเคยได้ยินมานะคะว่าชาวอีสานมีวิธีการขอฝนอยู่ อย่างหนึ่งคือ ประเพณีการแห่นางแมว ซึ่งการแห่นางแมวเป็นพิธีอ้อนวอนขอฝน ซึ่งจำจัดทำขึ้นในปีใดที่ภาคอีสานในแต่ละท้องถิ่นแห่งแล้งฝนไม่ตกต้องตามฤดู กาล จนในปัจจุบันกลายเป็นประเพณีที่สืบทอดกันมาตราบจนทุกวันนี้ค่ะ
พิธีแห่นางแมวของชาวอีสานเพราะเชื่อว่าเหตุที่ฝนไม่ตกมี เหตุผลหลายประการ เช่น เกิดจากดินฟ้าอากาศเปลี่ยนแปลง,ประชาชนชาวเมืองหย่อนในศีลธรรม ,เจ้าเมืองหรือเจ้าแผ่นดินไม่ทรงอยู่ในทศพิธราชธรรม, เป็นต้น เหตุนี้ชาวเมือง ชาวอีสานจึงต้องทำพิธีอ้อนวอนขอฝน และการที่ต้องใช้แมวเป็นตัวประกอบสำคัญในการขอฝน เพราะเชื่อว่าแมวเป็นสัตว์ที่เกลียดฝน ถ้าฝนตกครั้งใดแมวจะร้องทันที ชาวอีสานจึงถือเอาเคล็ดที่แมวร้องในเวลาฝนตกว่า จะเป็นเหตุให้ฝนตกจริงๆ ชาวบ้านจึงร่วมมือกันสาดน้ำและทำให้แมวร้องมากที่สุดจึงจะเป็นผลดี และชาวอีสานเชื่อว่าหลังจากทำพิธีแห่นางแมวแล้วฝนจะตกลงมาตามคำอ้อนวอน และตามคำเซิ้ง ของนางแมว
องค์ประกอบที่ใช้ในพิธีแห่นางแมว
1. กะทอหรือเข่งที่มีฝาปิดข้างบน 1 อัน
2. แมวสีดำตัวเมีย 1 ตัว
3. เทียน 5 คู่
4. ดอกไม้ 5 คู่
5. ไม่สำหรับสอดกะทอให้คนหาม 1 อัน
วิธีแห่งนางแมว
1.ชาวบ้านรวมทั้งคนแก่คนหนุ่มและเด็กส่วนมากจะเป็นผู้ชาย ปรึกษาหารือกัน คนที่เป็นผู้นำกล่าวเซิ้ง เพื่อให้ผู้ไปแห่ทั้งหมดเป็นผู้ว่าตาม ส่วนใหญ่จะเป็นคนเฒ่าคนแก่ในหมู่บ้าน
2. หากะทอใบหนึ่งหรืออาจใช้เข่งก็ได้
3. จับเอาแมวตัวเมียสีดำ 1 ตัวใส่ในกะทอ ใช้เชือกผูกปิดปากะทอไม่ให้แมวออกได้ และใช้ไม้สอดกะทอให้คนหา 2 คน ตั้งคายด้วยขันธ์ ห้า ป่าวสักเคเทวดา เพื่อให้เทวดาบันดาลให้ฝนตก
4. ได้เวลาพลบค่ำผู้คนกำลังอยู่บ้าน ก็เริ่มขบวนแห่โดยหากะทอแมวออกข้างหน้า แล้วตามด้วยคนว่าคำเซิ้ง และผู้แห่ว่าตามเป็นท่อนๆไป ในขบวนก็จะมีการตีเกราะเคาะไม้เพื่อให้เกิดจังหวะตามไปด้วย และแห่ไปทุกหลังคาเรือนในหมู่บ้านนั้นๆ เมื่อแห่ไปถึงบ้านใครเจ้าของบ้านก็ต้องเอาน้ำสาดหรือรดที่ตัวแมวให้เปียกและ ทำให้แมวร้อง และสาดใส่ขบวนเซิ้งด้วย ประเพณีบางบ้านก็สาดใส่ขบวนเฉยๆโดยไม่ให้ถูกแมว เพราะปรากฏว่าเซิ้งหนักๆเข้า แมวตายวันละตัว
คำเซิ้งแต่ละท้องถิ่นไม่ค่อยเหมือนกันแต่สิ่งที่รวมอยู่ในคำ เซิ้งคือมีการพรรณนาถึงความแห้งแล้งและขอให้ฝนตกเหมือนกัน และเท่าที่ประมวลมาส่วนใหญ่จะเป็นดังนี้
คำเซิ้งในพิธีแห่นางแมว
             "เต้าอีแม่นางแมว แมวมาขอไข่ ขอบ่ได้ขอฟ้าขอฝน
             ขอน้ำมนต์อดหัวแมวบ้าง บ่ได้ค่าจ้างเอาแมวข้อยมา
             บ่ได้ปลาเอาหนูกับข้าว บ่ได้ข้าว เหล้าเด็ดก็เอา
             เหล้าโทก็เอา แม่เม่าเอย อย่าฟ้าวขายลูก ข้าวเพิ่นปลูก
             ลูกน้อยเพิ่นแพง ตาเวนแดง ฝนแทงลงมา ตาเวนต่ำ
             ฝนหน่ำลงมา ตาเวนตก ฝนตกลงมา
             ดังเค็งๆข้ามดงมานี้แบ้นบักเลิกแบ้นพ่ออีเถิง
             ฮ่งเบิงๆฝนเทลงมา ฝนบ่ตกข้าวไฮ่ตายเหมิดแล้ว
             ฝนบ่ตกข้าวนาตายแล้งเหมิดแล้ว
             ฝนบ่ตกกล้าแห้งตายพรายเหมิดแล้ว
             ตกลงมาฝนตกลงมา เท่งลงมาฝนเท่งลงมา

http://noo-ddd.exteen.com/20100419/entry

 

ประเพณีแห่นางแมวขอฝน ตามความเชื่อของชาวอีสาน


ประเพณีแห่นางแมวขอฝนของชาวบ้าน

ประเพณีแห่นางแมวขอฝน เพื่อนๆ หลายๆ คนคงจะเคยได้ยินมานะครับว่ามีวิธีการ ขอฝน อยู่อย่างหนึ่งคือ การ แห่นางแมว ซึ่งเป็นพิธีอ้อนวอนขอฝนตามความเชื่อของชาวอีสาน  ประเพณีแห่นางแมวขอฝน  ซึ่งจะจัดทำขึ้นในระหว่างเดือน 7- 9 และนิยมทำกันทั่วไปในภาคอีสาน แต่ก็ไม่จัดว่าเป็นประเพณีประจำปี จะทำเฉพาะในปีใดที่ฟ้าฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล ซึ่งในแต่ละท้องถิ่นจะกระทำจนกลายเป็น ประเพณีขอฝน ที่สืบทอดกันมาตราบจนทุกวันนี้


แมวสีดำที่ใช้ในการแห่นางแมว

ประเพณีแห่นางแมวขอฝน วันประกอบพิธีไม่มีวันกำหนดที่แน่นอน โดยมากมักจะเป็นวันพระ เมื่อตกลงกำหนดวันเรียบร้อยแล้วชาวบ้านจะจัดเตรียมสถานที่เกี่ยวกับพิธีที่ วัด


การแห่นางแมวขอฝนจะใส่แมวไว้ในกระทอ

ประเพณีแห่นางแมวขอฝน จะมีการทำพิธีของชาวบ้านโดยการแห่แมว หรือเรียกว่า แห่นางแมว เพราะเชื่อว่าที่ฝนไม่ตกมีเหตุผลหลายประการ เช่น เกิดจากดินฟ้าอากาศเปลี่ยนแปลง,ประชาชนชาวบ้านหย่อนในศีลธรรม ,ทำผิดจารีตประเพณี เป็นต้น ด้วยเหตุนี้ ชาวอีสานจึงต้องประกอบพิธีขอฝน และการที่ต้องใช้แมวเป็นตัวประกอบสำคัญในการขอฝน นั้นเพราะเชื่อว่าแมวเป็นสัตว์ที่เกลียดฝน ถ้าฝนตกครั้งใดแมวจะร้องทันที ชาวอีสานจึงถือเอาเคล็ดนี้



ประเพณีแห่นางแมวขอฝนจะเป็นการแห่ที่สนุกสนานของชาวบ้าน

เมื่อ แมวร้องในเวลาฝนตก จะเป็นเหตุให้ฝนตกจริงๆ ชาวบ้านจึงร่วมมือกันสาดน้ำและทำให้แมวร้องมากที่สุดจึงจะเป็นผลดี และชาวอีสานเชื่อว่าหลังจากทำพิธี แห่นางแมวขอฝน แล้วฝนจะตกลงมาตามคำอ้อนวอน และตามคำเซิ้งของการ
แห่นางแมว

สิ่งสำคัญที่ใช้ใน พิธีแห่นางแมวขอฝน

1. กะทอหรือเข่งที่มีฝาปิดข้างบน 1 อัน
2. แมวสีดำตัวเมีย 1 ตัว (เหตุที่ใช้แมวสีดำเพราะ ให้เป็นสีดำเหมือนก้อนเมฆเมื่อฝนตก)
3. เทียน 5 คู่
4. ดอกไม้ 5 คู่
5. ไม้สำหรับสอดกะทอให้คนหาม 2 ท่อน

ขั้นตอนของ พิธีแห่นางแมวขอฝน

1.ชาว บ้านรวมทั้งคนแก่คนหนุ่มและเด็กส่วนมากจะเป็นผู้ชาย ปรึกษาหารือกัน คนที่เป็นผู้นำกล่าวเซิ้ง เพื่อให้ผู้ไปแห่ทั้งหมดเป็นผู้ว่าตาม ส่วนใหญ่จะเป็นคนเฒ่าคนแก่ในหมู่บ้าน

2. จับเอาแมวตัวเมียสีดำ 1 ตัวใส่ในกะทอ ใช้เชือกผูกปิดปากะทอไม่ให้แมวออกได้ และใช้ไม้สอดกะทอให้คนหาม 2 คน ตั้งคายด้วยขันธ์ ห้า ป่าวสักเคเทวดา เพื่อให้เทวดาบันดาลให้ฝนตก

3. ได้เวลาพลบค่ำผู้คนกำลังอยู่บ้าน ก็เริ่มขบวนแห่โดยหามกะทอแมวออกข้างหน้า แล้วตามด้วยคนว่าคำเซิ้ง และผู้แห่ว่าตามเป็นท่อนๆ ไป ในขบวนก็จะมีการตีเกราะเคาะไม้ตีกลองเพื่อให้เกิดจังหวะตามไปด้วย และแห่ไปทุกหลังคาเรือนในหมู่บ้านนั้นๆ เมื่อแห่ไปถึงบ้านใครเจ้าของบ้านก็ต้องเอาน้ำสาดหรือรดที่ตัวแมวให้เปียกและ ทำให้แมวร้อง และสาดใส่ขบวนเซิ้งด้วย การแห่นางแมวขอฝนบางบ้านก็สาดใส่ขบวนเฉยๆ โดยไม่ให้ถูกแมว เพราะปรากฏว่าเซิ้งหนักๆ เข้า แมวตายวันละตัว

ประเพณีแห่นางแมวขอฝน จะมีคำเซิ้งแต่ละท้องถิ่น ไม่ค่อยเหมือนกันแต่สิ่งที่รวมอยู่ในคำเซิ้งคือมีการพรรณนาถึงความแห้งแล้งและขอให้ฝนตกเหมือนกัน

คำเซิ้งในการแห่นางแมวขอฝน

"เต้าอีแม่นางแมว แมวมาขอไข่ ขอบ่ได้ขอฟ้าขอฝน
ขอน้ำมนต์หดหัวแมวบ้าง บ่ได้ค่าจ้างเอาแมวข้อยมา
บ่ได้ปลาเอาหนูกับข้าว บ่ได้ข้าว เหล้าเด็ดก็เอา
เหล้าโทก็เอา แมงเม่าเอย อย่าฟ้าวขายลูก ข้าวเพิ่นปลูก
ลูกน้อยเพิ่นแพง ตาเวนแดง ฝนแทงลงมา ตาเวนต่ำ
ฝนหน่ำลงมา ตาเวนตก ฝนตกลงมา
ดังเค็งๆข้ามดงมานี้แบ้นบักเลิกแบ้นพ่ออีเถิง
ฮ่งเบิงๆฝนเทลงมา ฝนบ่ตกข้าวไฮ่ตายเหมิดแล้ว
ฝนบ่ตกข้าวนาตายแล้งเหมิดแล้ว
ฝนบ่ตกกล้าแห้งตายพรายเหมิดแล้ว
ตกลงมาฝนตกลงมา เท่งลงมาฝนเท่งลงมา"


http://esanindy.com/b5/t293/

ประเพณีแห่นางแมว

 http://traditionalthailand.blogspot.com/2012/11/blog-post_13.html
ในสังคมของไทยเรานั้นส่วนใหญ่แล้วจะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก ดังนั้นปัจจัยของความสมบูรณ์จึงมีความเกี่ยวข้องกับฝนเป็นหลัก และชาวนาส่วนใหญ่มีความเชื่อว่าการพึ่งพิงอำนาจที่เหนือธรรมชาติ ว่าปีใดฝนเกิดแห้งแล้ง ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาลชาวนาทั้งหลายก็จะไม่สามารถทำนาได้เนื่องจากไม่มีน้ำ จึงทำให้เกิดพิธีกรรมที่เรียกว่า “การแห่นางแมว” ซึ่งเป็นความเชื่อในการประกอบพิธีขอฝนให้ตกตามฤดูกาลได้

โดยในพิธีจะใช้ชะลอมตกแต่งให้สวยงามและนำแมวมาใส่ในชะลอม มัดชะลอมให้แน่นกับคานแล้วแห่ไปรอบหมู่บ้าน ในระหว่างแห่นางแมวจะมีการร้องเพลงและขบวนกลองยาวคอยให้จังหวะเป็นที่ครื้น เครง เมื่อขบวนแวะหรือผ่านบ้านใครก็จะรดน้ำแมวและให้อาหาร เหล้าและอื่นๆ และเมื่อแห่ครบทุกบ้านแล้วก็จะนำข้าวปลาอาหารมากินเลี้ยงกัน หรืออาจจะแห่ไปเรื่อยๆ จากเช้าจนถึงค่ำ


พิธีกรรมแห่นางแมวยังแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนช่วยให้กลุ่มคนที่มี อาชีพเกษตรกรรมได้กลับมารวมตัวทำให้เกิดความสร้างสรรค์สามารถทำให้ชุมชน ชาวนามีความเป็นปึกแผ่นมากขึ้นด้วย
 http://traditionalthailand.blogspot.com/2012/11/blog-post_13.html
   
 http://www.baanmaha.com/community/thread5606.html
ประเพณี แห่นางแมวไทยมีมาช้านาน เป็นพิธีแห่ของชาวไทยชนบททั่ว ๆ ไป ซึ่งเชื่อว่าถ้าแห่นางแมวแล้วฝนจะตกไม่เกินภายใน 3 วันหรือ 7 วัน การแห่นี้ถือว่าเป็นการสร้างความสัมพันธ์ในหมู่บ้านให้แน่นแฟ้นขึ้น สำหรับประเพณีแห่นางแมวจะต้องใช้คนประมาณ 15 ?20 คน โดยมากเป็นผู้เฒ่าที่รู้ประเพณี และการหานางแมวตัวสวย ๆ งาม ๆ สักตัวหรือ 2-3 ตัว เอานางแมวนี้ใส่กระบุง ตะกร้า หรือเข่งก่อนที่จะนำแมวเข้ากระบุง มีผู้อาวุโสที่สุด จะพูดกับนางแมวว่า ? นางแมวเอย ?ขอฟ้าขอฝน ให้ตกลงมาด้วยนะ ? พอหย่อนนางแมวลงกระบุงแล้ว ก็ยกกระบุงนั้นสอดคานหามหัวท้าย จะปิดหรือเปิดฝากระบุงก็ได้ แต่ถ้าปิดต้องให้ นางแมวถึงน้ำกระเซ็น ตอนที่สาดน้ำด้วยจะต้องถูกต้องตามหลักประเพณี ผู้หญิงที่เข้าร่วมแห่ จะผัดหน้าเช้ง ทัดดอกไม้สด ดอกโต ๆ ขบวนแห่จะร้องรำทำเพลงแบบชนบท สนุกสนานเฮฮาพร้อมกับดื่มเหล้ายาอาหาร เมื่อขบวนถึงบ้านไหนแต่ละบ้านก็จะออกมาต้อนรับอย่างเต็มที่ เพราะเกรงว่าแมวจะโกรธ และจะบันดาลไม่ให้ฝนตกลงมา

การที่ใช้นางแมว และจะต้องเป็นนางแมวตัวเมียนั้น เพื่อให้ถูกต้องตามประเพณี เพราะผู้เฒ่าผู้แก่บอกว่า แมวเป็นสัตว์ที่เกลียดฝนอย่างยิ่ง ถ้ามันเห็นฝนตกหรือฝนตกมันจะร้องทันที ดังนั้นจึงหามเพื่อให้มันร้องให้ฝนตก คนโบราณมีความเชื่อว่า แมวเป็นสัตว์ที่มีอำนาจลึกลับศักดิ์สิทธิ์ สามารถเรียกฝนให้ตกลงมาได้อย่างแท้จริงได้ และประเพณีนี้ก็สืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน /// คำเซิ้งในพิธีแห่นางแมว ///



"เต้าอีแม่นางแมว แมวมาขอไข่ ขอบ่ได้ขอฟ้าขอฝน

ขอน้ำมนต์อดหัวแมวบ้าง บ่ได้ค่าจ้างเอาแมวข้อยมา

บ่ได้ปลาเอาหนูกับข้าว บ่ได้ข้าว เหล้าเด็ดก็เอา

เหล้าโทก็เอา แม่เม่าเอย อย่าฟ้าวขายลูก ข้าวเพิ่นปลูก

ลูกน้อยเพิ่นแพง ตาเวนแดง ฝนแทงลงมา ตาเวนต่ำ

ฝนหน่ำลงมา ตาเวนตก ฝนตกลงมา

ดังเค็งๆข้ามดงมานี้แบ้นบักเลิกแบ้นพ่ออีเถิง

ฮ่งเบิงๆฝนเทลงมา ฝนบ่ตกข้าวไฮ่ตายเหมิดแล้ว

ฝนบ่ตกข้าวนาตายแล้งเหมิดแล้ว

ฝนบ่ตกกล้าแห้งตายพรายเหมิดแล้ว
ตกลงมาฝนตกลงมา เท่งลงมาฝนเท่งลงมา

กุ๊กกู๊ กุ๊กกู๊ กุ๊กกู๊ กุ๊กกู๊ กุ๊กกู๊?
 http://www.baanmaha.com/community/thread5606.html
 ประเพณีแห่นางแมว อ้อนวอนขอฝน

การแห่นางแมวเป็นพิธีอ้อนวอนขอฝน ซึ่งจำจัดทำขึ้นในปีใดที่ท้องถิ่นแห่งแล้งฝน ไม่ตกต้องตามฤดูกาล สาเหตุที่ฝนไม่ตก ท่านผู้รู้กล่าวไว้ว่า น้ำฝนนั้นเป็นน้ำของเทวดา ดังมีศัพท์บาลีว่า เทโว ซึ่งแปลว่า น้ำฝน เป็นเอกลักษณ์ของความดี ความบริสุทธิ์ สิ่งแวดล้อมเป็นพิษมากๆ ควัน และละอองเขม่าน้ำมัน ห่อหุ้มโลกทำให้เป็นภัยแก่มนุษย์ ผู้ที่จะล้างอากาศได้ทำให้ละอองพิษพวกนั้นตกลงดิน ทำให้อากาศสะอาดคือ "เทโว" หรือ "ฝน" นั่นเอง ดังจะเห็นได้จากเมื่อฝนหยุดตกใหม่ๆ อากาศจะสดชื่น ระงมไปด้วยเสียงของกบ เขียด


ความเชื่อ การแห่นางแมวภาคอิสาน

พิธีแห่นางแมวของชาวอีสานเพราะเชื่อว่าเหตุที่ฝนไม่ตกมีเหตุผลหลายประการ เช่น เกิดจากดินฟ้าอากาศเปลี่ยนแปลง,ประชาชนชาวเมืองหย่อนในศีลธรรม, เจ้าเมืองหรือเจ้าแผ่นดิน ไม่ทรงอยู่ในท..พิธราชธรรม เป็นต้น ดังนั้น ถ้ามนุษย์อยากให้เทวะคือน้ำฝนที่ดีไม่ใช่ดีเปรสชั่น มาเยี่ยมตามกาลเวลา มนุษย์ก็ควรตั้งอยู่ในศีลในธรรม เพราะคนที่มีศีลมีธรรมท่านจึงเรียกว่า "เทวะ" ทั้งๆ ที่เป็นคน เพราะเหตุดังกล่าวมานี้ เทวะคือฝน กับเทวะคือคนผู้มีคุณธรรม ย่อมจะมาหากันเพราะเป็นเล่ากอแห่งเทวะด้วยกัน เหมือนพระย่อมไปพักกับพระเป็นต้น เหตุนี้ชาวเมือง ชาวอีสานจึงต้องทำพิธีอ้อนวอนขอฝน และการที่ต้องใช้แมวเป็นตัวประกอบสำคัญในการขอฝน เพราะเชื่อว่าแมวเป็นสัตว์ที่เกลียดฝน ถ้าฝนตกครั้งใดแมวจะร้องทันที ชาวอีสานจึงถือเอาเคล็ดที่แมวร้องในเวลาฝนตกว่า จะเป็นเหตุให้ฝนตกจริงๆ ชาวบ้านจึงร่วมมือกันสาดน้ำและทำให้แมวร้องมากที่สุดจึงจะเป็นผลดี และชาวอีสานเชื่อว่าหลังจากทำพิธีแห่นางแมวแล้วฝนจะตกลงมาตามคำอ้อนวอน และตามคำเซิ้งของนางแมว

นอกจากแมวจะเข้ามาเกี่ยวข้องในพิธีเกิดและพิธีแต่งงานในวัฒนธรรมไทยแล้ว แมวยังเข้ามามีส่วนร่วมในอีกประเพณีสำคัญของไทยที่สืบทอดกันมาหลายชั่วอายุ คน นั่นคือ พิธีแห่นางแมวขอฝน คนไทยในสมัยก่อนเชื่อว่า แมวเป็นสัตว์ที่มีอำนาจลึกลับศักดิ์สิทธิ์ สามารถเรียกฝนให้ตกลงมาได้ และเมื่อถึงฤดูฝน หากฝนแล้งไม่ตกต้องตามฤดูกาล

ชาวไทยโดยเฉพาะกลุ่มเกษตรกรที่จำเป็นต้องใช้น้ำในการเกษตรกรรมจะต้องนำนาง แมว (แมวตัวเมีย) โดยคัดเลือกแมวไทยพันธุ์สีสวาด (คนไทยโบราณเรียก แมวมาเลศ ตามภาพ) ตัวที่มีรูปร่างปราดเปรียว สวยงามตั้งแต่ 1-3 ตัว นำนางแมวมาใส่กระบุงหรือตะกร้าหรือเข่งก็ได้ สาเหตุที่ต้องเลือกแมวพันธุ์นี้เพราะเชื่อว่า สีขนแมวเป็นสีเดียวกับเมฆ จะทำให้เกิดฝนตกได้ แต่บางแห่งก็ใช้แมวดำ

ก่อนที่จะนำนางแมวเข้ากระบุง คนที่เป็นผู้อาวุโสที่สุด จะพูดกับนางแมวว่า "นางแมวเอย …ขอฟ้าขอฝน ให้ตกลงมาด้วยนะ" พอหย่อนนางแมวลงกระบุงแล้ว ก็ยกกระบุงนั้นสอดคานหามหัวท้าย จะปิดหรือเปิดฝากระบุงก็ได้ แต่ถ้าปิดต้องให้นางแมวโดนน้ำกระเซ็นใส่ ตอนที่สาดน้ำด้วยจะต้องถูกต้องตามหลักประเพณี

ผู้หญิงที่เข้าร่วมในพิธีแห่ จะผัดหน้าขาว ทัดดอกไม้สดดอกโตๆ ขบวนแห่จะร้องรำทำเพลงที่สนุกสนานเฮฮา เมื่อขบวนแห่ถึงบ้านไหน แต่ละบ้านจะต้องออกมาต้อนรับอย่างเต็มที่ เพราะเกรงว่าแมวจะโกรธ และจะบันดาลไม่ให้ฝนตกลงมา และมีความเชื่อว่า ถ้าแห่นางแมวแล้วฝนจะตก ภายใน 3 วันหรือ 7 วัน นอกจากนี้ พิธีแห่นางแมวขอฝน จะเป็นการช่วยเรียกให้ฝนตกแล้ว ยังถือว่าพิธีนี้เป็นการสร้างความสัมพันธ์กับผู้คนในหมู่บ้านให้แน่นแฟ้น ขึ้น เนื่องจากจะต้องมีการช่วยเหลือกันในการประกอบพิธีอีกด้วย

องค์ประกอบที่ใช้ในพิธีแห่นางแมว

กะทอหรือเข่ง หรือกระบุง ที่มีฝาปิดข้างบน 1 อัน

แมวสีดำตัวเมีย 1-3 ตัว

เทียน 5 คู่

ดอกไม้ 5 คู่

ไม่สำหรับสอดกะทอให้คนหาม 1 อัน

วิธีแห่นางแมว

ชาวบ้านรวมทั้งคนแก่คนหนุ่มและเด็กส่วนมากจะเป็นผู้ชาย ปรึกษาหารือกัน คนที่เป็นผู้นำกล่าวเซิ้ง เพื่อให้ผู้ไปแห่ทั้งหมดเป็นผู้ว่าตาม ส่วนใหญ่จะเป็นคนเฒ่าคนแก่ในหมู่บ้าน

หากะทอใบหนึ่งหรืออาจใช้เข่ง หรือกระบุงก็ได้

จับเอาแมวตัวเมียสีดำ หรือแมวไทยพันธุ์สีสวาด (คนไทยโบราณเรียก แมวมาเลศ) 1 ตัวใส่ในกะทอ ใช้เชือกผูกปิดปากะทอไม่ให้แมวออกได้ และใช้ไม้สอดกะทอให้คนหา 2 คน ตั้งคายด้วยขันธ์ ห้า ป่าวสักเคเทวดา เพื่อให้เทวดาบันดาลให้ฝนตก

ได้เวลาพลบค่ำผู้คนกำลังอยู่บ้าน ก็เริ่มขบวนแห่โดยหากะทอแมวออกข้างหน้า แล้วตามด้วยคนว่า คำเซิ้ง และผู้แห่ว่าตามเป็นท่อนๆ ไป ในขบวนก็จะมีการตีเกราะเคาะไม้เพื่อให้เกิดจังหวะตามไปด้วย และแห่ไปทุกหลังคาเรือนในหมู่บ้านนั้นๆ เมื่อแห่ไปถึงบ้านใครเจ้าของบ้านก็ต้องเอาน้ำสาด
หรือรดที่ตัวแมวให้เปียกและทำให้แมวร้อง และสาดใส่ขบวนเซิ้งด้วย ประเพณีบางบ้านก็สาดใส่ขบวนเฉยๆ โดยไม่ให้ถูกแมว เพราะปรากฏว่าเซิ้งหนักๆ เข้า แมวตายวันละตัว


แห่นางแมว อิสาน อีกแบบหนึ่ง

ให้เอาแมวมา 1 ตัว ใส่ในกระทอ มีคนหามตั้งคายขัน 5 หามประกอบพิธีป่าวสัคเค เทวาเชิญเทวดาลงมาบอกกล่าวขอน้ำฝนกับเทวดาว่า จะขอฝนด้วยการใช้พิธีแห่นางแมว แล้วสั่งให้พวกหามแมวแห่เซิ้งไปตามถนนในหมู่บ้าน มีคนทั้งชาย หญิง และเด็กเดินถือดอกไม้ตามไปถึงเรือนหลังไหน คนในเรือนหลังนั้นก็เอาน้ำสาดมาใส่ทั้งแมวและคน เล่นเอาทั้งแมวทั้งคนหนาวไปตามๆ กัน ในบางแห่งจะมีการผูกเอวคนหัวล้าน 2 คน ทำฮึดฮัดจะชนกันตามกระบวนไปด้วย บางจุดก็หยุดให้หัวล้านชนกัน สลับคำเซิ้งชาวก็บ้านจะเอาน้ำรดแสดงไปเรื่อยๆ

จะเซิ้งอย่างนี้เริ่มจาก 3 โมงเย็นจนถึง 2 ทุ่ม หรือรอบหมู่บ้านแล้วหยุด พอหยุดไม่นานฝนก็จะตกฟ้าแลบฟ้าร้องฟ้าผ่าตามมา


คำเซิ้ง

แต่ละท้องถิ่นไม่ค่อยเหมือนกัน แต่สิ่งที่รวมอยู่ในคำเซิ้งคือมีการพรรณนาถึงความแห้งแล้งและขอให้ฝนตก เหมือนกัน และเท่าที่ประมวลมาส่วนใหญ่จะเป็นดังนี้

ตัวอย่าง คำเซิ้งในพิธีแห่นางแมว แบบที่ 1

"เต้าอีแม่นางแมว แมวมาขอไข่ ขอบ่ได้ขอฟ้าขอฝน
ขอน้ำมนต์อดหัวแมวบ้าง บ่ได้ค่าจ้างเอาแมวข้อยมา
บ่ได้ปลาเอาหนูกับข้าว บ่ได้ข้าว เหล้าเด็ดก็เอา
เหล้าโทก็เอา แม่เม่าเอย อย่าฟ้าวขายลูก ข้าวเพิ่นปลูก

ลูกน้อยเพิ่นแพง ตาเวนแดง ฝนแทงลงมา ตาเวนต่ำ
ฝนหน่ำลงมา ตาเวนตก ฝนตกลงมา
ดังเค็งๆข้ามดงมานี้แบ้นบักเลิกแบ้นพ่ออีเถิง
ฮ่งเบิงๆ ฝนเทลงมา ฝนบ่ตกข้าวไฮ่ตายเหมิดแล้ว

ฝนบ่ตกข้าวนาตายแล้งเหมิดแล้ว
ฝนบ่ตกกล้าแห้งตายพรายเหมิดแล้ว
ตกลงมาฝนตกลงมา เท่งลงมาฝนเท่งลงมา
กุ๊กกู๊ กุ๊กกู๊ กุ๊กกู๊ กุ๊กกู๊ กุ๊กกู๊”


ตัวอย่าง คำเซิ้งนางแมว แบบที่ 2

เซิ้งอันนี้เผิ่นว่า เซิ้งนางแมว ย่างเป็นแถวกะนางแมวออกก่อน
ไปตามบ่อนกะตามซอกตามซอย ไปบ่ถอยกะขอฝนขอฟ้า
เฮาคอยถ้าให้ฝนเทลงมา ตามประสาแมวโพงแมวเป้า
แมวดำกินปลาย่าง แมวด่างกินปลาแห้ง
ฝนฟ้าแล้ง กะขอฟ้าขอฝน
ขอน้ำมนต์กะรดหัวแมวบ้าง
(ชาวบ้านก็สาดน้ำลงใส่)

เทลงมากะฝนเทลงมา ท่วมไฮ่ท่วมนา
ท่วมฮูปลาไหล ท่วมไม้โสงเสง
หัวล้านชนกันฝนเทลงมา (ซ้ำ)
http://www.baanmaha.com/community/thread45862.html
แห่นางแมวขอฝน


นานมาแล้วก่อนประวัติศาสตร์ มนุษย์เราต่างก็ตั้งบ้านแปลงเรือน อยู่กันเป็นกลุ่มๆตามเผ่า
พันธุ์ของแต่ละเชื้อชาติ แล้วแต่หัวหน้าเผ่าใดจะมีความสามารถหรือฉลาดเฉลียวที่จะรวบรวมผู้คนมาเป็ส มัครพรรคพวกได้มากๆ แต่ละกลุ่มก็จะตั้งกฏระเบียบแบบแผนมาเป็นข้อบังคับให้ลูกบ้านใช้ยึดถือ ปฏิบัติ เพื่อให้ทุกคนอยู่ร่วมกันด้วยความสงบสุข ถ้าผู้ใดละเมิดกฎที่ตั้งไว้ ผู้นั้นจะต้องได้รับโทษตามที่แจ้งไว้ในกฎของเผ่าพันธุ์นั้นๆ เมื่ออยู่ร่วมกันเนิ่นนานจากวันเป็นเดือน จากเดือนเป็นปี จึงทำให้ออกลูกออกหลานมากขึ้นจนเป็นชุมชนใหญ่โต ผู้คนก็มากขึ้นตามปกติ จึงทำให้เกิดต่างความคิดเห็นของแต่ละคนแต่ละกลุ่ม ความขัดแย้งเรื่องราวต่างย่อมเกิดขึ้น จึงพาสมัครพรรคพวกแยกจากกลุ่มใหญ่ไปหาที่ตั้งหลักแหล่งสร้างบ้าานแปลงเรือน ทำมาหากินกันตามความพอใจของตน และผู้นำก็ต้องจัดระเบียบตั้งกฏขึ้นใช้ในการปกครองผู้คนในเผ่าของตนเช่นกัน ตลอดมา

เมื่อประชากรมากขึ้น ย่อมมีคนฉลาดมากขึ้น รู้จักคิดรู้จักพิจารนาดูดินฟ้าอากาศ หาพิธีเอา

ชนะธรรมชาติเพื่อให้ตัวเองอยู่รอด และเป็นผู้ที่เคารพเชื่อถือของคนทั่วไป สิ่งที่พยายามค้นคิดเฝ้าสังเกตฝนตก ว่ามันมักจะตกวันไหนบ่อยๆ สมัยก่อนไม่มีวันอาทิตย์ถึงวันเสาร์ แต่เขาจะนับวันกันตามจันทรคติ คือยึดเอาการหมุนเวียนของการโคจรรอบโลกของดวงจันทร์เป็นหลักเกณฑ์ ที่มาของระบบดังกล่าวนี้ ต้องขออภัยจริงๆที่ผู้เขียนไม่ได้ค้นคว้าหาเรื่องเติมมาเรียนให้ทราบวันที่ ชาวบ้านชาวเมืองเขาใช้นับกันก็มีสองอย่างคือ ข้างขึ้นและข้างแรม ถ้าอยากจะทราบว่าข้างขึ้นหรือข้างแรมมันต่างกันอย่างไร ขอให้ผู้อ่านจงสังเกตดูเอาเอง ปัจจุบันนี้น้อยคนนักที่จะสนใจดูดวงจันทร์ จึงไม่ทราบว่าข้างขึ้นข้างแรมเป็นอย่างไร เวลาไปหาหมอดูเพื่อตรวจชะตาราศรี เขาถามข้อมูลวันคลอดเพื่อใช้ประกอบหลักการพยากรณ์ตามตำราต่างๆของหมอดู ก็บอกไม่ได้ อย่างนี้ขอบอบว่าอย่างไปหาหมอดูเลย ข้อมูลตัวเองก็บอกหมอไม่ถูกแล้ว เชื่อเถอะ อย่าว่าแค่หมอดูเลยต่อให้เทวดาก็ทำการพยากรณ์ชะตาชีวิตของท่านไม่สอดคล้อง กับชะตาชีวิตจริงของท่านหรอก


ตามธรรมชาติแรงดึงดูดของโลกและดวงจันทร์ จะทำให้อากาศแปรปรวน จึงทำให้เกิดความกดอากาศสูงบ้างต่ำบ้าง จึงทำให้ไอน้ำ ที่ชาวบ้านเขาเรียกว่าบนท้องฟ้าเกิดการรวมตัวกันมากขึ้น จึงทานน้ำหนักไม่ไหวแล้วตกลงมาเรียกว่าน้ำฝน สิ่งนี้เป็นกฎเกณฑ์ของธรรมชาติ ท่านหมอผีทั้งหลายไม่ทราบที่มาที่ไปว่าทำไมจึงเกิดเหตุดังกล่าวนั้นหรอก ได้แต่จดจำไว้ว่าเมื่อไรฝนมันจะตกลงมา แล้วเก็บข้อมูลไว้ เมื่อถึงหน้าฝนเกิดความแห้งแล้ง ฝนฟ้าไม่ตกชาวบ้านต้องการน้ำเพื่อหล่อเลี้ยงพืชผลทำมาหากินตามฤดูการ ก็พากันไปหาหมอผีมาทำพิธีขอฝนจากสิ่งที่คิดว่ามีอิทธิฤทธิ์ มีอำนาจอันศักดิ์สิทธิ์ เช่น ผี,เทวดา,เทพเจ้าฯลฯ แล้วแต่ที่เขาเล่าเรียนสืบทอดกันมา

เมื่อตกลงกันดีแล้ว หมอก็จะกำหนดวันนัดทำพิธีการขอฝน โดยการเจาะจงลงไปเลยว่าวันโกน หรือวันพระที่จะถึงนี้นะ ให้เลือกเอาวันใดวันหนึ่ง แล้วผู้นำหมู่บ้านนั้นๆก็จะเรียกลูกบ้านมาประชุมเพื่อบอกกล่าวกันให้รู้ทั่ว ทั้งหมู่บ้าน แล้วแบ่งงานมอบหมายให้ดำเนินการจัดการกันตามแต่ใครจะถนัดที่จะช่วย เช่นกลุ่มหนึ่งช่วยกันทำคานหาม (ปัจจุบันจะเห็นได้บ้างในงานแห่นาคไปอุปสมบท) ช่างที่มีฝีมือจะประดิษฐ์ตบแต่งได้สวยมาก แต่ที่ไม่มีฝีมือก็เอาเพียงแค่ใช้งานได้เท่านั้น อาจใช้ไม้ไผ่ท่อนเดียวความยาวสัก 4 ศอก ก็พอแล้ว สำหรับแขวนตะกล้าหรือชะลอมขังแมวตัวใหญ่ๆไว้ในนั้น ใช้คน 2 คนห้ามหัวท้าย แมวอยู่กลาง พอมองภาพออกนะ

เมื่อ ถึงกำหนดวันนัดชาวบ้านจะมีความตื่นเต้นกันมากโดยเฉพาะพวกเด็กๆนี่ใจจดใจจ่อ อยากเห็นขบวนแห่กันเต็มที กลุ่มหนุ่มสาวก็ใจเต้นระทึกอยากจะเห็นคู่รักของตนแต่งตัวชุดอะไร แต่ระบ้านที่เส้นทางขบวนแห่จะต้องผ่านมา เขาจะจัดเตรียมน้ำไว้เยอะๆ จะเอาน้ำไว้ทำอะไรเดี๋ยวค่อยทราบครับ ผู้ นำขบวนการจะจัดหาสุราปลาปิ้งมาเลี้ยงกันอย่างทั่วถึง สิ่งที่ขาดไม่ได้อีกอย่างคือเถิดเทิง (กลองยาว) ปี่,ฉิ่ง,กรับ,ฉาบ,ฆ้องและนักร้องประจำวง

ครั้น ได้เวลาบ่ายแก่ๆ ชาวบ้านเรียกแดดร่มลมตก หมอผีก็จะทำพิธีกรรมของเขาตามที่ถ่ายทอดกันมา เมื่อเสร็จเรียบร้อยก็สั่งจัดขบวนตั้งแถวคณะกลองยาวนำหน้าตามดัวยนางรำทั้ง ชายและหญิงแล้วก็มีสองคนช่วยกันหามแมวที่อยู่ในชะลอม จะมีผู้นำหมู่บ้านและหมอผีเดินเคียงข้างคนหามแมวอย่างใกล้ชิดเพื่อให้ชาว บ้านเกิดความศรัทธาเชื่อถือ

แผ่นดินที่แห้งแล้งเพราะไร้ฝนตกมานาน ถูกแดดเผามาตั้งแต่เช้าจนบ่ายแก่ ๆ จึงทำให้ร้อนระอุ ทางเดินเป็นฝุ่นฟุ้งขี้นประดุจหมอกควัญซึ่งเกิดจากฝ่าเท้าของฝูงชนในขบวนแห่ นั้นเอง พอผ่านบ้านใดเขาก็จะเอาน้ำที่เตรียมไว้สาดลดใส่แมว น้ำที่ตกลงสู่ผืนแผ่นดินที่กำลังร้อนระอุ ทำให้เกิดปฏิกิริยาร้อนแรงขึ้นอีกทำให้ผู้คนในขบวนแห่กระโดดโลดเต้นแฝงไป ด้วยความสนุกสนาน และด้วยอิทธิฤทธิ์ของ ส.ร.ถ.(สุราเถื่อน) จึงลืมความทุกข์ยากไปได้ชั่วขณะ ขบวนแห่จะดำเนินการไปจนทั่วทุกครัวเรือน ทำให้น้ำนองเจ่งไปทั่วทางเดิน เพราะชาวบ้านเอาน้ำมาราดลดแมวนั่นเอง ที่จริงน่าสงสารแมวตัวนั้นนะ ไม่รู้อีโหน่อีเหน่อะไรด้วยเลย มันคงหนาวใจแทบขาด แมวด้วยหนอมันถูกกันกับน้ำชะเมื่อไหล่ ถือเสียว่ามันใช้หนี้กรรมเก่าก็แล้วกัน เกิดชาติใดแสนใดอย่าได้เกิดเป็นแมวให้เขาแห่เลยเชียว ครั้นถึงยามค่ำคืน ความร้อนยิ่งเพิ่มเป็นทวีคูณ เพราะตามกฎของธรรมชาติ เมื่อพระอาทิตย์ตกดินไปแล้ว ผืนแผ่นดินก็จะคลายความร้อนขึ้นมาแล้วลอยขึ้นสู่ท้องฟ้า (ช่วงนี้จะเข้าสู่ทฤษฎีการทำฝนเทียมระดับหนึ่ง) เมื่อความร้อนลอยสูงขึ้นๆไปกระทบกลุ่มเมฆที่มีละอองน้ำเข้า ละอองน้ำก็จะลอยหนีความร้อนขึ้นสู่เบื้องบน จึง ไปกระทบความเย็นเข้าและเกาะจับรวมตัวกันมากขึ้นจึงทานน้ำหนักไม่ไหวทำให้ ต้องลอยต่ำลงมาแล้วกลายเป็นหยดน้ำที่เราเรียกว่าฝนตกนั่นแหละครับ

http://www.baanmaha.com/community/thread26130.html



นอกจากแมวจะเข้ามาเกี่ยวข้องในพิธีเกิด และพิธีแต่งงานในวัฒนธรรมไทยแล้ว แมวยังเข้ามามีส่วนร่วมในอีกประเพณีสำคัญของไทยที่สืบทอดกันมาหลายชั่วอายุ คน นั่นคือ พิธีแห่นางแมวขอฝน คนไทยในสมัยก่อนเชื่อว่า แมวเป็นสัตว์ที่มีอำนาจลึกลับศักดิ์สิทธิ์ สามารถเรียกฝนให้ตกลงมาได้ และเมื่อถึงฤดูฝน หากฝนแล้งไม่ตกต้องตามฤดูกาล
ชาวไทยโดยเฉพาะกลุ่มเกษตรกรที่จำเป็นต้องใช้น้ำในการเกษตรกรรมจะต้องนำนางแมว(แมวตัวเมีย) โดยคัดเลือกแมวไทยพันธุ์สีสวาด(คนไทยโบราณเรียก แมวมาเลศ) ตัวที่มีรูปร่างปราดเปรียว สวยงามตั้งแต่ 1-3 ตัว นำนางแมวมาใส่กระบุงหรือตะกร้าหรือเข่งก็ได้ สาเหตุที่ต้องเลือกแมวพันธุ์นี้เพราะเชื่อว่า สีขนแมวเป็นสีเดียวกับเมฆ จะทำให้เกิดฝนตกได้
ก่อนที่จะนำนางแมวเข้ากระบุง คนที่เป็นผู้อาวุโสที่สุด จะพูดกับนางแมวว่า " นางแมวเอย ขอฟ้าขอฝน ให้ตกลงมาด้วยนะ " พอ หย่อนนางแมวลงกระบุงแล้ว ก็ยกกระบุงนั้นสอดคานหามหัวท้าย จะปิดหรือเปิดฝากระบุงก็ได้ แต่ถ้าปิดต้องให้นางแมวโดนน้ำกระเซ็นใส่ ตอนที่สาดน้ำด้วยจะต้องถูกต้องตามหลักประเพณี
ผู้หญิง ที่เข้าร่วมในพิธีแห่ จะผัดหน้าขาว ทัดดอกไม้สดดอกโต ๆ ขบวนแห่จะร้องรำทำเพลงที่สนุกสนานเฮฮา เมื่อขบวนแห่ถึงบ้านไหน แต่ละบ้านจะต้องออกมาต้อนรับอย่างเต็มที่ เพราะเกรงว่าแมวจะโกรธ และจะบันดาลไม่ให้ฝนตกลงมา และมีความเชื่อว่า ถ้าแห่นางแมวแล้วฝนจะตก ภายใน 3 วันหรือ 7 วัน นอกจากนี้ พิธีแห่นางแมวขอฝน จะเป็นการช่วยเรียกให้ฝนตกแล้ว ยังถือว่าพิธีนี้เป็นการสร้างความสัมพันธ์กับผู้คนในหมู่บ้านให้แน่นแฟ้น ขึ้น เนื่องจากจะต้องมีการช่วยเหลือกันในการประกอบพิธีอีกด้วย
นี่คือ แมวสีสวาด หรือที่เรียกอีกชื่อว่า แมวมาเลศ สีขนเป็นสีเทาหม่นคล้ายสีของก้อนเมฆ
ภาพพิธีแห่นางแมวขอฝน 
ขอบคุณภาพจาก www..buddharam.se
ถือว่า ความเชื่อของแมวในมุมสว่าง(ด้านบวก)ของ วัฒนธรรมไทย ก็เป็นอีกหนึ่งมุมความเชื่อที่เกี่ยวกับแมว ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่า แมวเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ ที่ใช้ในการประกอบพิธีมงคลต่างๆ ของ คนไทย นอกจากนี้ ในวัฒนธรรมของยุโรป ก็มีความเชื่อที่เกี่ยวกับแมวเช่นกัน แล้วจะนำมาเล่าให้ฟังใหม่ค่ะ

http://www.oknation.net/blog/cat-a-blog/2007/10/27/entry-1

 ประเพณีแห่นางแมว ความเชื่อเกี่ยวกับพิธีขอฝนของชาวอีสาน  
http://www.esanclick.com/news.php?No=16223

ประเพณีแห่นางแมว ความเชื่อเกี่ยวกับพิธีขอฝนของชาวอีสาน

หลายๆคนคงจะเคยได้ยินมานะคะว่าชาวอีสานมี วิธีการขอฝนอยู่อย่างหนึ่งคือ ประเพณีการแห่นางแมว ซึ่งการแห่นางแมวเป็นพิธีอ้อนวอนขอฝน ซึ่งจำจัดทำขึ้นในปีใดที่ภาคอีสานในแต่ละท้องถิ่นแห่งแล้งฝนไม่ตกต้องตามฤดู กาล จนในปัจจุบันกลายเป็นประเพณีที่สืบทอดกันมาตราบจนทุกวันนี้ค่ะ

พิธีแห่นางแมวของชาวอีสานเพราะเชื่อว่าเหตุ ที่ฝนไม่ตกมีเหตุผลหลายประการ เช่น เกิดจากดินฟ้าอากาศเปลี่ยนแปลง,ประชาชนชาวเมืองหย่อนในศีลธรรม ,เจ้าเมืองหรือเจ้าแผ่นดินไม่ทรงอยู่ในทศพิธราชธรรม, เป็นต้น เหตุนี้ชาวเมือง ชาวอีสานจึงต้องทำพิธีอ้อนวอนขอฝน และการที่ต้องใช้แมวเป็นตัวประกอบสำคัญในการขอฝน เพราะเชื่อว่าแมวเป็นสัตว์ที่เกลียดฝน ถ้าฝนตกครั้งใดแมวจะร้องทันที ชาวอีสานจึงถือเอาเคล็ดที่แมวร้องในเวลาฝนตกว่า จะเป็นเหตุให้ฝนตกจริงๆ ชาวบ้านจึงร่วมมือกันสาดน้ำและทำให้แมวร้องมากที่สุดจึงจะเป็นผลดี และชาวอีสานเชื่อว่าหลังจากทำพิธีแห่นางแมวแล้วฝนจะตกลงมาตามคำอ้อนวอน และตามคำเซิ้ง ของนางแมว

    องค์ประกอบที่ใช้ในพิธีแห่นางแมว
1. กะทอหรือเข่งที่มีฝาปิดข้างบน 1 อัน
2. แมวสีดำตัวเมีย 1 ตัว
3. เทียน 5 คู่
4. ดอกไม้ 5 คู่
5. ไม่สำหรับสอดกะทอให้คนหาม 1 อัน

    วิธีแห่นางแมว
1.ชาวบ้านรวมทั้งคนแก่คนหนุ่มและเด็กส่วน มากจะเป็นผู้ชาย ปรึกษาหารือกัน คนที่เป็นผู้นำกล่าวเซิ้ง เพื่อให้ผู้ไปแห่ทั้งหมดเป็นผู้ว่าตาม ส่วนใหญ่จะเป็นคนเฒ่าคนแก่ในหมู่บ้าน

2. หากะทอใบหนึ่งหรืออาจใช้เข่งก็ได้

3. จับเอาแมวตัวเมียสีดำ 1 ตัวใส่ในกะทอ ใช้เชือกผูกปิดปากะทอไม่ให้แมวออกได้ และใช้ไม้สอดกะทอให้คนหา 2 คน ตั้งคายด้วยขันธ์ ห้า ป่าวสักเคเทวดา เพื่อให้เทวดาบันดาลให้ฝนตก

4. ได้เวลาพลบค่ำผู้คนกำลังอยู่บ้าน ก็เริ่มขบวนแห่โดยหากะทอแมวออกข้างหน้า แล้วตามด้วยคนว่าคำเซิ้ง และผู้แห่ว่าตามเป็นท่อนๆไป ในขบวนก็จะมีการตีเกราะเคาะไม้เพื่อให้เกิดจังหวะตามไปด้วย และแห่ไปทุกหลังคาเรือนในหมู่บ้านนั้นๆ เมื่อแห่ไปถึงบ้านใครเจ้าของบ้านก็ต้องเอาน้ำสาดหรือรดที่ตัวแมวให้เปียกและ ทำให้แมวร้อง และสาดใส่ขบวนเซิ้งด้วย ประเพณีบางบ้านก็สาดใส่ขบวนเฉยๆโดยไม่ให้ถูกแมว เพราะปรากฏว่าเซิ้งหนักๆเข้า แมวตายวันละตัว


คำเซิ้งแต่ละท้องถิ่นไม่ค่อยเหมือนกันแต่ สิ่งที่รวมอยู่ในคำเซิ้งคือมีการพรรณนาถึงความแห้งแล้งและขอให้ฝนตกเหมือน กัน และเท่าที่ประมวลมาส่วนใหญ่จะเป็นดังนี้

   คำเซิ้งในพิธีแห่นางแมว
             "เต้าอีแม่นางแมว แมวมาขอไข่ ขอบ่ได้ขอฟ้าขอฝน
             ขอน้ำมนต์อดหัวแมวบ้าง บ่ได้ค่าจ้างเอาแมวข้อยมา
             บ่ได้ปลาเอาหนูกับข้าว บ่ได้ข้าว เหล้าเด็ดก็เอา
             เหล้าโทก็เอา แม่เม่าเอย อย่าฟ้าวขายลูก ข้าวเพิ่นปลูก
             ลูกน้อยเพิ่นแพง ตาเวนแดง ฝนแทงลงมา ตาเวนต่ำ
             ฝนหน่ำลงมา ตาเวนตก ฝนตกลงมา
             ดังเค็งๆข้ามดงมานี้แบ้นบักเลิกแบ้นพ่ออีเถิง
             ฮ่งเบิงๆฝนเทลงมา ฝนบ่ตกข้าวไฮ่ตายเหมิดแล้ว
             ฝนบ่ตกข้าวนาตายแล้งเหมิดแล้ว
             ฝนบ่ตกกล้าแห้งตายพรายเหมิดแล้ว
             ตกลงมาฝนตกลงมา เท่งลงมาฝนเท่งลงมา

http://www.esanclick.com/news.php?No=16223


อ้างอิงโดย www.youtube.com


ประเพณีแห่นางแมวขอฝน
ชาวบ้านแพรกมีความเชื่อเรื่องการขอฝน ปีใดที่ฝนแล้งไม่ตกต้องตามฤดูกาลชาวบ้านจะชักชวนกันเเห่นางเเมว ทำกันเป็นประเพณีมีมาแต่โบราณ ชาวบ้านแพรกจะคุ้นเคยกับประเพณีนี้มาตั้งแต่เด็ก ถือเป็นธรรมเนียมปฏิบัติสืบต่อกันมาตั้งแต่ครั้งปู่ย่า ตายาย เนื่องจากการทำนาไร่แต่ก่อนต้องอาศัยฝนตามธรรมชาติ
จากคำบอกเล่าของคุณยายเปรื่อง สิงหพันธุ์ อายุ 102 ปี อยู่บ้านหมู่ 2 ตำบลสำพะเนียง อำเภอบ้านแพรก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ว่าครอบครัวของคุณยายมาอยู่ที่หมู่บ้านนี้ตั้งแต่หลังสงครามโลก แม่ของคุณ ยายชื่อ ปลั่ง ลือพักต์ เสียชีวิตเมื่ออายุ 105 ปี เมื่อ พ.ศ. 2505 เล่าว่าประเพณีแห่นางแมวเป็นประเพณีเก่าแก่ที่ชาวบ้านแพรก ถือปฏิบัติกันมานานนับร้อยปี ท่านเคยร้องและร่วมขบวนแห่นางแมว ปีใดที่ฝนไม่ตกตามฤดูกาล ชาวบ้านจะเกณฑ์กันมาแห่นางแมวขอฝน และส่วนใหญ่เมื่อทำพิธีแล้วฝนก็ตกลงมาจริงๆ ระยะหลังๆ ฝนตกเหมือนกันแต่ตกน้อยไม่เหมือนสมัยก่อน
การแห่นางแมว กระทำกันในช่วง เดือน 5 ถึงเดือน 6 เฉพาะปีที่ฝนไม่ตกกระบวนแห่ประกอบด้วย คนหาบแมวซึ่งแมวที่ใช้ต้องเป็นแมวตัวเมีย เเมวเป็นสัตว์ กลัวน้ำ ตกใจง่าย และร้องเก่ง ต่อมาเป็นคนหาบข้าวปลาอาหารที่ชาวบ้านให้เป็นรางวัลมา ถัดจากขบวนหาบเป็นขบวนนักรำ ขบวนไอ้ขิก และขบวนนักร้องกลองยาว ขบวนแห่นางแมวจะร้องเพลงนางแมวขอฝน ทั้งร้องทั้งรำและตีกลองยาวอย่างครึกครื้นสนุกสนานไปตามหมู่บ้าน ชาวบ้านจะนำน้ำมาสาดไปที่ขบวนแห่ไม่สาดนางแมวและให้รางวัลพวกข้าวสารปลาย่าง ปลาเค็ม ไข่ต้ม หรือสิ่งของ สตางค์บ้าง ตามมีตามเกิด ปลาย่างนั้นสำหรับให้แมวกิน ของกินอย่างอื่นก็แจกจ่ายกันกินระหว่างแห่ ของที่กินไม่ได้ เช่น ข้าวสาร หอมกระเทียม ก็นำไปถวายพระที่วัด สตางค์ก็นำไปซื้อของ เช่น ถ้วยชาม
 http://ilwc.aru.ac.th/Contents/CustomFestivalThai/CustomFestivalThai1.html